อธิการบดี

พระพรหมวัชรธีราจารย์, ศ.ดร.
(สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ)

เป็นพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย
ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
เลขานุการแม่กองบาลีสนามหลวง
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 

สถานที่เกิด ตำบลโคกกลาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์
ตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์
ตำแหน่งทางคณะสงฆ์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปากน้ำพระอารามหลวง เขตภาษีเจริญกรุงเทพฯ
ที่อยู่ปัจจุบัน วัดปากน้ำ แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร โทร.๐๒-๘๖๙-๑๗๖๘
สถานที่ทำงาน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เลขที่๗๙ หมู่๑ ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐
การติดต่อ โทรศัพท์ ๐–๓๕๒๔ ๘๐๑๐ ต่อ ๘๐๑๐
การศึกษา
  • พ.ศ. ๒๕๒๘ เปรียญธรรม๙ประโยคกองบาลีสนามหลวง
  • พ.ศ. ๒๕๓๑ ศึกษาศาสตรบัณฑิต (มัธยมศึกษา)มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • พ.ศ. ๒๕๓๔ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พ.ศ. ๒๕๓๗ Doctor of Philosophy (Pali&Buddhist Studies), BHU, India
ประวัติการทำงาน
  • เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีสำนักเรียนวัดปากน้ำ
  • พ.ศ. ๒๕๓๗ เป็นเจ้าหน้าที่ประจำกองวิชาการ
  • พ.ศ. ๒๕๓๘ เป็นรักษาการผู้อำนวยการกองวิชาการ
  • พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นผู้อำนวยการกองวิชาการ
  • พ.ศ. ๒๕๓๘ เป็นอาจารย์
  • พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นรักษาการรองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
  • พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นรักษาการคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
  • พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
  • พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนาคณะพุทธศาสตร์
  • พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (สมัยที่๒)
  • พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นรองศาสตราจารย์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนาคณะพุทธศาสตร์
  • พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
  • พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ(สมัยที่๒)
  • พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นศาสตราจารย์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์
  • พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ (สมัยที่ ๓)
  • พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ประวัติการศึกษาดูงาน
ผลงานทางวิชาการ/งานวิจัย บทความทางวิชาการ
-บทวิเคราะห์วัชรยานตอนที่๑-๕ (บทความทางวิชาการ), นาคารชุนกับปัญหาว่าด้วยกาลภาวะและอภาวะ, แนะนำพระวินัยปิฎก, ปรัชญามาธยมิกะ, สืบค้นตรรกวิทยาในพระไตรปิฎกและวรรณกรรมพระพุทธศาสนา, วิพากษ์ทางสายกลางของอริสโตเติลกับมัชฌิมาปฏิปทาในพระพุทธศาสนาเถรวาท, พระวินัย : กฎเกณฑ์และคุณค่าทางสังคมกำเนิดและพัฒนาการแห่งพระพุทธรูป, สถานการณ์ฯพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน, เจดีย์ในพระพุทธ-ศาสนา, นิพพาน : อัตตาหรืออนัตตา, วิพากษ์แนวคิด : พระพุทธศาสนาสำหรับโลกหลังยุคใหม่, พระพุทธ-ศาสนาแบบธิเบต : วิเคราะห์มันตระ “โอมมณีปัทเมหูม”, ทัศนะเกี่ยวกับการศึกษาของพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) : วิเคราะห์จากหนังสือ “ทางสายกลางของการศึกษาไทย”, พระพุทธศาสนากับมังสวิรัติพุทธวิธีแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยกรอบแห่งอธิกรณ-สมถะ๗ : ศึกษาแนวการประยุกต์ใช้สัมมุขาวินัยเยภุยยสิกาวินัยการจัดการศาสนาและวัฒนธรรมในอุษาคเนย์เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ, ความเข้มแข็งของสถาบันสงฆ์ ปริมาณหรือคุณภาพ, อานิสงส์ของการบริจาคอวัยวะตามหลักพระพุทธศาสนา:กรณีการบริจาคไตงานวิจัย
-การศึกษาวิเคราะห์หลักจริยศาสตร์ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา
ตำราวิชาการ ผลงานแปลและแต่งหนังสือทางวิชาการ 
– พัฒนาการแห่งพุทธจริยศาสตร์, พัฒนาการแห่งความคิดแบบอินเดียโบราณ ,กรรมและการเกิดใหม่, พุทธทัศนะเบื้องต้น, ปรัชญาแห่งนาครชุน, พระพุทธศาสนามหายาน,พระพุทธศาสนามหายาน : พัฒนาการและสารัตถธรรม,พุทธปรัชญา : สาระและพัฒนาการ, คัมภีร์วิมุตติมรรค,ลังกาวตารสูตร,
ผลงานการเรียบเรียง 
– คู่มือปฐมสมันตปาสาทิกาอรรถกถาพระวินัย, คู่มือการเรียนการสอนวิชาแปลไทยเป็นมคธป.ธ.๕, ประมวลการสอนธรรมโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน,พระพุทธศาสนาในจีนทิเบตเวียดนามญี่ปุ่น, กฎแห่งความรัก (ปรัชญาความรักในพระพุทธศาสนา)
เอกสารประกอบการสอน 
– พุทธปรัชญา, วิชาปรัชญาจีนและญี่ปุ่น, วิชาจริยศาสตร์
บรรณาธิการ 
– มหาบัณฑิตสัมมนา :บทความสัมมนาทางวิชาการ, พระพุทธศาสนากับวิทยาการโลกยุคใหม่
ที่ปรึกษา
งานบริการสังคม
รางวัล / เกียรติบัตร
หรือการได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ
  • รางวัลผู้ทำคุณประโยชน์(เสมาธรรมจักร)ประเภทส่งเสริมการศึกษาพระพุทธศาสนาสาขาการแต่งหนังสือทางพระพุทธศาสนา