รายละเอียดรายวิชา

พระไตรปิฎกศึกษา

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๐๑                               จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : พระไตรปิฎกศึกษา                 

Tipitaka Studies

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ………………………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความสำคัญของพระไตรปิฎก ประโยชน์ของการศึกษาพระไตรปิฎก การศึกษาและถ่ายทอดพระธรรมวินัยสมัยพุทธกาลการสังคายนา กำเนิดพระไตรปิฎก โครงสร้างเนื้อของพระไตรปิฎก คัมภีร์อธิบายพระไตรปิฎก (อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา) คัมภีร์สำคัญอื่นๆ พระไตรปิฎกฉบับต่างๆ ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน การสืบค้นพระไตรปิฎกด้วยคอมพิวเตอร์

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถรู้และเข้าใจความเป็นมา ความสำคัญ ประโยชน์ และการรักษาสืบทอดพระไตรปิฎก

๕.๒เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถปฏิบัติการสืบค้น ค้นคว้า เรียบเรียง พระไตรปิฎก อรรถกถา และคัมภีร์สำคัญ

๕.๓ เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถประยุกต์ใช้หลักธรรมจากพระไตรปิฎกกับหน้าที่ การศึกษา และชีวิตประจำวันได้

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญ และประโยชน์ของพระไตรปิฎก

๖.๒ การศึกษาและถ่ายทอดพระธรรมวินัยสมัยพุทธกาล

๖.๓ การสังคายนารวบรวมและร้อยกรองพระธรรมวินัยและพุทธพจน์

๖.๔ กำเนิดพระไตรปิฎก

๖.๕ โครงสร้างและเนื้อหาของพระไตรปิฎก

๖.๖ พระไตรปิฎกฉบับต่างๆ  อันเป็นที่นิยมในปัจจุบัน

๖.๗ คัมภีร์อธิบายพระไตรปิฎก (อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา)

๖.๘ คัมภีร์สำคัญของฝ่ายเถรวาทและมหายาน

๖.๙ พระไตรปิฎกคอมพิวเตอร์และเทคนิคการสืบค้น

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ อภิปรายกลุ่ม ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม (จิตพิสัย)                     ๑๐ คะแนน

๘.๒ การอภิปราย บรรยาย รายงานทางวิชาการ (พุทธิพิสัย)       ๓๐ คะแนน

๘.๓ การฝึกปฏิบัติ ทดสอบ ประยุกต์ใช้ (ทักษะพิสัย)               ๒๐ คะแนน

๘.๔ สอบประเมินผล                                                  ๔๐ คะแนน

รวม                                                                ๑๐๐ คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งการเรียนรู้

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาเตปิฎกํ, กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๐.

คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระไตรปิฎกศึกษา, กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.

เสนาะผดุงฉัตร. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณคดีบาลี.พิมพ์ครั้งที่๑.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๒.

ไกรวุฒิมะโนรัตน์. วรรณคดีบาลี๑.กรุงเทพมหานคร : จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์,๒๕๔๙.

เว็บไซต์

พระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬา www.mcu.ac.th/mcutrai

โปรแกรมตรวจและเทียบเคียงพระไตรปิฎก http://etipitaka.com

พระไตรปิฎกออนไลน์ ฉบับ ม.มหิดล www.mahidol.ac.th/budsir/budsir-main.html

พระไตรปิฎกออนไลน์  www.84000.org

……………………………………………………………………………………………………………………………

ประวัติพระพุทธศาสนา

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๐๒                      จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : ประวัติพระพุทธศาสนา  

History of Buddhism

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ………………………………………………………………………

๔. คำอธิบายวิชา

ศึกษาหลักพื้นฐานความเชื่อและศาสนาของมนุษย์ ดินแดนชมภูทวีป พุทธประวัติ กำเนิดพุทธศาสนา พุทธศาสนายุคหลังพุทธกาล การเผยแผ่พุทธศาสนาของพระเจ้าอโศก พุทธศาสนาเถรวาท พุทธศาสนามหายาน  มหาวิทยาลัยในพุทธศาสนา  พุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยต่างๆ  พุทธศาสนาในเอเชีย ยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย และแอฟริกา

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักความเชื่อ  และการกำเนิดศาสนาของมนุษย์

๕.๒ เพื่อให้ผู้ศึกษาเข้าใจดินแดนชมพูทวีป การกำเนิดพระพุทธศาสนา และเหตุการณ์สมัยพุทธกาล

๕.๓ เพื่อให้ผู้ศึกษาเข้าใจสถานการณ์พระพุทธศาสนาสมัยหลังพุทธกาลจนถึงปัจจุบัน

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ หลักพื้นฐานความเชื่อของมนุษย์และการเกิดศาสนา

๖.๒ ดินแดนชมภูทวีปพุทธประวัติ และกำเนิดพุทธศาสนา

๖.๓ พุทธศาสนายุคหลังพุทธกาล

๖.๔ การเผยแผ่พุทธศาสนาของพระเจ้าอโศก

๖.๕ พุทธศาสนามหายาน

๖.๗ มหาวิทยาลัยในพุทธศาสนา

๖.๘ พุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยต่างๆ

๖.๙ พุทธศาสนาในเอเชีย

๖.๑๐ พุทธศาสนาในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย และแอฟริกา

 ๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ บรรยายประกอบสื่อ  สไลด์  ภาพ  แผนภูมิ  ตาราง

๗.๒ ฝึกปฏิบัติตามหัวข้อ/เรื่องที่มีการปฏิบัติ ทดสอบ หรือทดลอง

๗.๓ การมอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติม และนำเสนอผลการศึกษา

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม (จิตพิสัย)                     ๑๐ คะแนน

๘.๒ การอภิปราย บรรยาย รายงานทางวิชาการ (พุทธิพิสัย)       ๓๐ คะแนน

๘.๓ การฝึกปฏิบัติ ทดสอบ ประยุกต์ใช้ (ทักษะพิสัย)               ๒๐ คะแนน

๘.๔ สอบประเมินผล                                                  ๔๐ คะแนน

รวม                                                                ๑๐๐ คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ประวัติพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐.

ทรงวิทย์แก้วศรี. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาเล่ม๑๔พระพุทธศาสนาในอังกฤษและเยอรมัน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๓๐.

———- ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาเล่ม๑๕พระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกา.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๓๐.

สุชาติหงษา. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาจากอดีตสู่ปัจจุบัน. กรุเทพฯ : ธรรมสภาและสถาบันลือธรรม, ๒๕๔๙.

เสถียรโพธินันทะ. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่๔, กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊ค, ๒๕๔๔.

Message from VIPs.Published The Joint International Organizing Committee for the Third International Conference on the United Nations Day of Vesak.Bangkok :Mahachulalongkornrajvidyalaya University Press, Thailand, 2006.

PhraThepsophon. (PrayoonMererk). International Recognition of the Day of Vesak.Mahachulalongkornrajvidyalaya University Press, Thailand, 2003.

……………………………………………………………………………………………………………………………

ธรรมประยุกต์

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๐๓                               จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : ธรรมประยุกต์                      

Applied Dhamma

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : …………………………………………………………………….

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาสังคีติสูตร การรวบรวมและจัดหมวดหมู่หลักธรรมในพุทธกาล การจัดหมวดหมู่ หลักธรรมตามแนวนวโกวาท การจัดหมวดหมู่หลักธรรมตามแนวพจนานุกรมพุทธศาสตร์ การประยุกต์หลักธรรมกับชีวิตและสังคมลักษณะต่างๆ เช่น วินัยชาวพุทธ คนกับความเป็นคน คนกับสังคม คนกับชีวิต คนกับคน และคนกับมรรคา

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสังคีติสูตร

๕.๒ เพื่อให้สามารถอธิบาย หลักธรรมแต่ละหมวดหมู่ตามแนวนวโกวาท และพจนานุกรมพุทธศาสตร์

๕.๓ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์หลักธรรมทางพุทธศาสนาในการประยุกต์ใช้กับชีวิตและสังคม

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเนื้อหาสังคีติสูตร

๖.๒ หลักธรรมทางพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิต

๖.๓ วินัยชาวพุทธ

๖.๔ ทิศ ๖

๖.๕ ศีล ๕

๖.๖ ไตรสิกขา

๖.๗ มรรค ๘

๖.๘ การฝึกจิต

๖.๙ คนกับความเป็นคน

๖.๑๐ คนกับสังคม

๖.๑๑ มิตรแท้ มิตรเทียม

๖.๑๒ คนกับมรรคา

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ อภิปรายกลุ่ม ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม                 ๑๐                คะแนน

๘.๒ งานมอบหมายและรายงาน                       ๒๐                คะแนน

๘.๓ การทดสอบระหว่างภาคเรียน                    ๒๐                คะแนน

๘.๔ สอบปลายภาค                                    ๕๐               คะแนน

รวม                                            ๑๐๐              คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๙. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.

พระราชวรมุนี. พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, ๒๕๒๘.

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๗.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๖.

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ ๗.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๖.

พุทธทาสภิกขุ. บรมธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๔. ม.ป.ท. ๒๕๒๕.

พุทธทาส อินทปัญโญ. คู่มือมนุษย์. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, ๒๕๑.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต. พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด. กรุงเทพฯ : วัดราชโอรสาราม, พ.ศ. ๒๕๔๘.

สมเด็จพระมหาสมณะเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. นวโกวาท หลักสูตรนักธรรม

ชั้นตรี. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.๒๕๓๘.

……………………………………………………………………………………………………………………………

จรรยาบรรณครู    

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๐๔                               จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : จรรยาบรรณครู                    

Ethics Teacher

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ….…………………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษานโยบายและแผนการศึกษา การเขียนแผนการสอน การพัฒนาแผนการสอน ความสำคัญและบทบาทหน้าที่ครู ภาระงานของครูอาจารย์ ทักษะและเจตคติของครู มาตรฐานวิชาชีพครู จรรยาบรรณครู คุณธรรมจริยธรรมของครู กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษา

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับนโยบายและแผนการศึกษาของชาติ

๕.๒ เพื่อให้สามารถอธิบาย การพัฒนาการสอน ความสำคัญและบทบาทหน้าที่ครู ภาระงานของครูอาจารย์ ทักษะและเจตคติของครู มาตรฐานวิชาชีพครู จรรยาบรรณครู คุณธรรมจริยธรรมของครู กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษา

๕.๓ เพื่อให้สามารถประยุกต์จรรยาบรรณวิชาชีพในการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ นโยบายการศึกษา

๖.๒ แผนการศึกษาของชาติ

๖.๓ การเขียนแผนการสอน

๖.๔ การพัฒนาแผนการสอน

๖.๕ บทบาทหน้าที่ของครู

๖.๖ ภาระงานของครู

๖.๗ ทักษะและเจตคติของครู

๖.๘ มาตรฐานวิชาชีพครูของคุรุสภา

๖.๙ จรรยาบรรณครู

๖.๑๐ คุณธรรม จริยธรรมของครู

๖.๑๑ กฎหมายเกี่ยวกับการศึกษา

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ อภิปรายกลุ่ม ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม                 ๑๐                คะแนน

๘.๒ งานมอบหมายและรายงาน                       ๒๐                คะแนน

๘.๓ การทดสอบระหว่างภาคเรียน                    ๒๐                คะแนน

๘.๔ สอบปลายภาค                                    ๕๐               คะแนน

รวม                                            ๑๐๐              คะแนน

 

๙. หนังสืออ่านประกอบรายและแหล่งเรียนรู้

โกสินทร์  รังสยาพันธ์. ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครู. กรุงเทพฯ : หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการ๒๕๓๐.

ฝึกหัดครู อ้างถึง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. พระบรมราโชวาทแก่ครูอาวุโส เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๒๒.

เฉลียว  บุรีภักดี และคณะ. รายงานผลการวิจัยเรื่องลักษณะของครูที่ดี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ตำรวจ. ๒๕๒๐.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. การศึกษาเพื่อชีวิตและสังคม  รายงานคณะกรรมการการวางพื้นฐานเพื่อปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์การทหารราบ. ๒๕๑๘.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครู กระทรวงศึกษาธิการ. รายงานการวิจัยเรื่องการ  เปรียบเทียบคุณลักษณะความเป็นครูของข้าราชการครูที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งจากการสอบแข่งขันกับการคัดเลือกตามโครงการคุรุทายาท.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ธรรมศาสตร์ อ้างถึง คณะกรรมการข้าราชการครู. ๒๕๒๘. ระเบียบข้าราชการครู. กรุงเทพฯ : ๒๕๓๕.

อำไพ   สุจริตกุล. คุณธรรมครูไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ๒๕๓๕.

เอกสารประกอบการสัมมนา วิชา ก.ศ. ๕๙๗. จะเป็นครูดีได้อย่างไร. (อัดสำเนา) อ้างถึง  วิจิตร ศรีสะอ้าน. ม.ป.ป. “ครูดีควรเป็นอย่างไร”. หนังสือนิเทศการศึกษา.๒๕๒๒.

คุรุสภา. เอกสารมาตรฐานวิชาชีพครู ของคุรุสภา. www.ksp.cr.th.

……………………………………………………………………………………………………………………………

เทคนิคการสอน    

 ๒. รหัสวิชา : สศ ๐๐๕                               จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๑. ชื่อรายวิชา : เทคนิคการสอน                     

 Technique Teaching

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ..……………………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาหลักการและวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า การวิเคราะห์ธรรมชาติของผู้เรียน คุณสมบัติของผู้เรียน วัตถุประสงค์ในการสอน การเลือกวิธีการสอนตามแนวไตรสิกขา อริยสัจ ๔ อนุบุพพิกถา และ นวังคสัตถุศาสน์

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า

๕.๒ เพื่อให้สามารถอธิบายวิธีการสอนตามแนวทางพระพุทธเจ้า

๕.๓ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์หลักพุทธธรรมที่นำมาใช้เป็นแนวทางในการสอน

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ หลักการและวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า

๖.๒ วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน

๖.๓ คุณสมบัติผู้สอน

๖.๔ วัตถุประสงค์ในการสอนตามแนวพุทธ

๖.๕ วิธีสอนตามแนวไตรสิกขา

๖.๖ วิธีสอนตามหลักอริยสัจ ๔

๖.๗ วิธีสอนตามแนวอนุปุพพิกถา

๖.๘ วิธีสอนตามแนวนวังคสัตถุศาสน์

๖.๙ นวัตกรรมทางการศึกษากับพุทธวิธีสอน

๖.๑๐ แนวโน้มการใช้หลักพุทธวิธีการสอน

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ อภิปรายกลุ่ม ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม                 ๑๐                คะแนน

๘.๒ งานมอบหมายและรายงาน                       ๒๐                คะแนน

๘.๓ การทดสอบระหว่างภาคเรียน                    ๒๐                คะแนน

๘.๔ สอบปลายภาค                                    ๕๐               คะแนน

รวม                                            ๑๐๐              คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

กาญจนา เกียรติประวัติ. วิธีสอนทั่วไปและทักษะการสอน. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช.(๒๕๒๔).

กาญจนา จันทะดวง. หลักการสอน. สกลนคร : สถาบันราชภัฏสกลนคร. ๒๕๔๓.

กาญจนา บุญส่ง. หลักการสอน (โครงการตำราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติ).เพชรบุรี : สถาบันราชภัฏเพชรบุรี. ๒๕๔๒.

กิดานันท์ มลิทอง. สื่อการสอนและฝึกอบรม. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. ๒๕๔๔.

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน. หลากหลายวิธีการสอนของครูต้นแบบ ๒๕๔๑ วิชาคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี. ๒๕๔๒.

จริยา เหนียนฉาย. (ม.ป.ป.). เทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.

จันทร์ฉาย เตมิยาคาร. การเลือกใช้สื่อทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ๒๕๓๓.

ชาญชัย อินทรประวัติและพวงเพ็ญ อินทรประวัติ . รูปแบบการสอน. พิมพ์ครั้งที่ ๒. สงขลา : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา. ๒๕๔๓.

ชูศรี สนิทประชากร. (ม.ป.ป.). ทักษะพื้นฐานของการสอน . กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏจันทรเกษม

ทองคูณ หงศ์พันธุ์. สอนดีต้องมีหลัก. กรุงเทพฯ : แสงสว่างการพิมพ์. ๒๕๔๒.

ทองสุข รวยสูงเนิน. คู่มือปฏิบัติการสร้างแผนการสอนที่เน้นกระบวนการตามหลักสูตรฉบับปรับปรุง ๒๕๓๓. กรุงเทพฯ : เสมาธรรม. ๒๕๔๓.

ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอน – องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่.๒กรุงเทพฯ:ด่านสุทธาการพิมพ์. ๒๕๔๕.

……………………………………………………………………………………………………………………………

จิตวิทยาการสอน

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๐๖                      จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : จิตวิทยาการสอน         

Teaching Psychology

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ………………………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาหลักจิตวิทยาทั่วไป จิตวิทยาการศึกษา แรงจูงใจ การปรับตัว สุขภาพจิต ทัศนคติและความสนใจ การเรียนรู้ จิตวิทยาการเรียนรู้ จิตวิทยาพัฒนาการ พุทธจิตวิทยา

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับจิตวิทยาทั่วไปและจิตวิทยาการศึกษา

๕.๒ เพื่อให้สามารถอธิบาย พฤติกรรมการเรียนรู้ตามหลักจิตวิทยา

๕.๓ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนตามหลักจิตวิทยา

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาทั่วไป

๖.๒ จิตวิทยาการศึกษา

๖.๓ แรงจูงใจ

๖.๔ การปรับตัว

๖.๕ สุขภาพจิต

๖.๖ ทัศนคติและความสนใจ

๖.๗ การเรียนรู้

๖.๘ จิตวิทยาการเรียนรู้

๖.๙ จิตวิทยาพัฒนาการ

๖.๑๐ พุทธจิตวิทยา

๖.๑๑ การประยุกต์จิตวิทยาเพื่อการเรียนรู้

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ อภิปรายกลุ่ม ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม                 ๑๐                คะแนน

๘.๒ งานมอบหมายและรายงาน                       ๒๐                คะแนน

๘.๓ การทดสอบระหว่างภาคเรียน                    ๒๐                คะแนน

๘.๔ สอบปลายภาค                                    ๕๐               คะแนน

รวม                                            ๑๐๐              คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

กมลรัตน์ หล้าสุวงษ์. จิตวิทยาการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: ศรีเดชา.๒๕๒๘.

กระทรวงศึกษาธิการ. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. เอกสารชุด

แนวทางปฏิรูปการศึกษาในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา. กรุงเทพฯ: การศาสนา.๒๕๔๒.

กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา. บทบาทของกรมวิชาการกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา.

กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.๒๕๓๖.

คณะอนุกรรมการการปฏิรูปการเรียนรู้. ปฏิรูปการเรียนรู้ ผู้เรียนสำคัญที่สุด. กรุงเทพฯ:

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.๒๕๔๓.

เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ์. การวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ ๒).

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.๒๕๒๗.

ทิศนา แขมมณี. การคิดและการสอนเพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ: โครงการ

พัฒนาการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.๒๕๔๐.

ทิศนา แขมมณี และคณะ. ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ:

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.๒๕๔๑.

เทอดศักดิ์ เดชคง. ความฉลาดทางอารมณ์. (พิมพ์ครั้งที่ ๖). กรุงเทพฯ: มติชน.๒๕๔๓.

ธีรยุทธ์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา. พฤติกรรมครูในการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.๒๕๒๔.

……………………………………………………………………………………………………………………………

การบริหารจิตเจริญปัญญา

 ๒. รหัสวิชา : สศ ๐๐๗                               จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๑. ชื่อรายวิชา : การบริหารจิตเจริญปัญญา         

Spiritual development

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ………………………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาหลักกรรมฐานในพระพุทธศาสนา วิธีปฏิบัติกรรมฐานจากพระไตรปิฎก สำนักกรรมฐานต่างๆ ของไทยและต่างประเทศ การประยุกต์กรรมฐานในชีวิตประจำวันหลักการบริหารจิตและเจริญปัญญาสำหรับนักเรียนขั้นพื้นฐาน (ป.๑-ม.๖)

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑  เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้และเข้าใจหลักการ วิธีปฏิบัติ และสำนักกรรมฐานต่างๆ อย่างทั่วถึง

๕.๒ เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถนำไปประยุกต์ใช้กรรมฐานกับหน้าที่การงาน และการดำเนินชีวิตประจำวัน

๕.๓ เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถนำหลักการบริหารจิตเจริญปัญญาไปใช้สอนนักเรียน

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ ศึกษาหลักกรรมฐานในพระพุทธศาสนา

๖.๒ วิธีปฏิบัติกรรมฐานจากพระไตรปิฎก

๖.๓ สำนักกรรมฐานต่างๆ ของไทยและต่างประเทศ

๖.๔ การประยุกต์กรรมฐานในชีวิตประจำวัน

๖.๕ หลักการบริหารจิตเจริญปัญญาสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ ๑ (ป.๑-ป.๓)

๖.๖ หลักการบริหารจิตเจริญปัญญาสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ ๒ (ป.๔-ป.๖)

๖.๗ หลักการบริหารจิตเจริญปัญญาสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ (ม.๑-ม.๓)

๖.๘ หลักการบริหารจิตเจริญปัญญาสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ ๔ (ม.๔-ม.๖)

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ บรรยายประกอบสื่อ  สไลด์  ภาพ  แผนภูมิ  ตาราง

๗.๒ ฝึกปฏิบัติตามหัวข้อ/เรื่องที่มีการปฏิบัติ ทดสอบ หรือทดลอง

๗.๓ การมอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติม และนำเสนอผลการศึกษา

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม (จิตพิสัย)                     ๑๐ คะแนน

๘.๒ การอภิปราย บรรยาย รายงานทางวิชาการ (พุทธิพิสัย)       ๓๐ คะแนน

๘.๓ การฝึกปฏิบัติ ทดสอบ ประยุกต์ใช้ (ทักษะพิสัย)               ๒๐ คะแนน

๘.๔ สอบประเมินผล                                                  ๔๐ คะแนน

รวม                                                                ๑๐๐ คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

พระราชวรมุนี และคณะ. วิมุตติมรรค. กรุงเทพฯ: ศยาม, ๒๕๔๑.

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). คัมภีร์วิสุทธิมรรครจนาโดยพระพุทธโฆสเถระ.พิมพ์ครั้งที่ ๑๐. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส, ๑๕๕๔.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต).พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๒๓. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔.

_________.ชีวิตที่ดีงาม: หลักการทั่วไปของการปฏิบัติธรรม. พิมพ์ครั้งที่๓๓. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.

————-. ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง. พิมพ์ครั้งที่ ๑๑๗.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖.

กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๕๑.

เว็บไซต์

วัดญาณเวศกวัน www.watnyanaves.net

ศูนย์ปฏิบัติธรรมมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  www.vipassanathai.org

โรงเรียนวิถีพุทธ www.vitheebuddha.com

……………………………………………………………………………………………………………………………

 

     นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา 

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๐                               จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา          

Innovation and Technology in Education

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ………………………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความสำคัญและประโยชน์ของนวัตกรรม พัฒนาการของนวัตกรรมและเทคโนโลยี  เทคโนโลยีสารสนเทศกับการสืบค้น  เทคโนโลยีสารสนเทศกับการคิดวิเคราะห์  เทคโนโลยีสารสนเทศกับการบริหารการศึกษา การพัฒนาสื่อดิจิตอลเพื่อการศึกษาในรูปแบบภาพ เสียง วิดีโอ มัลติมีเดีย อีบุ๊ก อีเลิร์นนิ่ง เอ็มเลิร์นนิ่ง  และการเรียการสอนทางไกล

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้และเข้าใจหลักการ ประโยชน์ และการก้าวหน้าของนวัตกรรมและเทคโนโลยี

๕.๒ เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถปฏิบัติการผลิตหรือพัฒนานวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอนการนำเสนอผลงานได้

๕.๓ ประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีกับหน้าที่การงาน การศึกษา และชีวิตประจำวันได้

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ ศึกษาความสำคัญและประโยชน์ของนวัตกรรม

๖.๒ พัฒนาการของนวัตกรรมและเทคโนโลยี

๖.๓ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการบริหารการศึกษา

๖.๔ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอนทางไกล

๖.๕ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการสืบค้น

๖.๖ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการคิดวิเคราะห์

๖.๗ การพัฒนาสื่อดิจิตอลเพื่อการศึกษาในรูปแบบภาพ เสียง วิดีโอ

๖.๘ การพัฒนาสื่อดิจิตอลเพื่อการศึกษาในรูปแบบสไลด์และมัลติมีเดีย

๖.๙ การพัฒนาสื่อดิจิตอลเพื่อการศึกษาในรูปแบบ e-Book, M-Learning

๖.๑๐ การพัฒนาสื่อดิจิตอลเพื่อการศึกษาในรูปแบบ e-Learning

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ บรรยายประกอบสื่อ  สไลด์  ภาพ  แผนภูมิ  ตาราง

๗.๒ ฝึกปฏิบัติตามหัวข้อ/เรื่องที่มีการปฏิบัติ ทดสอบ หรือทดลอง

๗.๓ การมอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติม และนำเสนอผลการศึกษา

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม (จิตพิสัย)                     ๑๐  คะแนน

๘.๒ การอภิปราย บรรยาย รายงานทางวิชาการ (พุทธิพิสัย)       ๓๐  คะแนน

๘.๓ การฝึกปฏิบัติ ทดสอบ ประยุกต์ใช้ (ทักษะพิสัย)               ๒๐  คะแนน

๘.๔ สอบประเมินผล                                                  ๔๐  คะแนน

รวม                                       ๑๐๐ คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

โอภาสเอี่ยมสิริวงศ์, วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (ฉบับปรับปรุง),กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, ๒๕๕๑.

โอ’เลียรี่ลินดาไอ, ยาใจโรจนวงศ์ชัย, คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่, กรุงเทพฯ :  แมคกรอ-ฮิล, ๒๕๕๐.

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. รายงานการวิจัยสภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.๒๕๔๘.

กิดานันท์ มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๒. ภาควิชาโสตทัศนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : ๒๕๔๓.

__________. ไอซีทีเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. ๒๕๔๘.

วุฒิชัย ประสารสอน. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน : นวัฒกรรมเพื่อการศึกษา. กรุงเทพ : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ๒๕๔๓.

Jeffery L. Whitten, Lonnie D. Bentley. Introduction to Systems Analysis & Design, McGraw-Hill, 2008.

K.E. Kendall and J.E. Kendall.Systems Analysis and Design (sixth edition), Prentice-      Hall, 2005.

Brookshear, J.G., Computer Science and Overview, 7th Edition, America: Pearson

Education Inc., 2002.

……………………………………………………………………………………………………………………………

การวัดผลและประเมินผลการสอน      

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๐๙                               จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : การวัดผลและประเมินผลการสอน                             

Teaching Measurement andEvaluation

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ..……………………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับการวัดผล  กระบวนการวัดผล  เครื่องมือวัดผล  การประเมินผล  รูปแบบและวิธีการประเมินผล  การประเมินแบบอิงกลุ่มการประเมินแบบอิงเกณฑ์เกณฑ์ในการประเมินผล  วัดประเมินตามสภาพจริงแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้สามารถมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดผล  กระบวนการวัดผล  เครื่องมือวัดผล  การประเมินผล  รูปแบบและวิธีการประเมินผล

๕.๒ เพื่อให้สามารถอธิบายการประเมินแบบอิงกลุ่มการประเมินแบบอิงเกณฑ์เกณฑ์ในการประเมินผล

๕.๓ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์การวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริงแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ การวัดผล

๖.๒ กระบวนการวัดผล

๖.๓ เครื่องมือวัดผล

๖.๔ การประเมินผล

๖.๕ รูปแบบและวิธีการประเมินผล

๖.๖ การประเมินแบบอิงกลุ่ม

๖.๗ การประเมินแบบอิงเกณฑ์เกณฑ์ในการประเมินผล

๖.๘ วัดประเมินตามสภาพจริงแนวปฏิบัติการวัด

๖.๙ ประเมินผลการเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ อภิปรายกลุ่ม ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม                 ๑๐                คะแนน

๘.๒ งานมอบหมายและรายงาน                       ๒๐                คะแนน

๘.๓ การทดสอบระหว่างภาคเรียน                    ๒๐                คะแนน

๘.๔ สอบปลายภาค                                    ๕๐               คะแนน

รวม                                            ๑๐๐              คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

จริยา เหนียนฉาย. (ม.ป.ป.). เทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.

จันทร์ฉาย เตมิยาคาร. การเลือกใช้สื่อทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ๒๕๓๓.

ชาญชัย อินทรประวัติและพวงเพ็ญ อินทรประวัติ . รูปแบบการสอน. พิมพ์ครั้งที่ ๒. สงขลา : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา. ๒๕๔๓.

ชูศรี สนิทประชากร. (ม.ป.ป.). ทักษะพื้นฐานของการสอน . กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏจันทรเกษม

ทองคูณ หงศ์พันธุ์. สอนดีต้องมีหลัก. กรุงเทพฯ : แสงสว่างการพิมพ์. ๒๕๔๒.

ทองสุข รวยสูงเนิน. คู่มือปฏิบัติการสร้างแผนการสอนที่เน้นกระบวนการตามหลักสูตรฉบับปรับปรุง ๒๕๓๓. กรุงเทพฯ : เสมาธรรม. ๒๕๔๓.

ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอน – องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่.๒กรุงเทพฯ:ด่านสุทธาการพิมพ์. ๒๕๔๕.

กาญจนา เกียรติประวัติ. วิธีสอนทั่วไปและทักษะการสอน. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช.(๒๕๒๔).

กาญจนา จันทะดวง. หลักการสอน. สกลนคร : สถาบันราชภัฏสกลนคร. ๒๕๔๓.

กาญจนา บุญส่ง. หลักการสอน (โครงการตำราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติ).เพชรบุรี : สถาบันราชภัฏเพชรบุรี. ๒๕๔๒.

……………………………………………………………………………………………………………………………

การบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๑๐                      จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : การบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ        

                   School ofBuddhism and Management

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ………………………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาความสำคัญของหลักสูตร หลักสูตรแกนกลาง หลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรรายวิชา หลักสูตรบูรณาการ กระบวนการพัฒนาหลักสูตร แผนการจัดการศึกษา แผนการสอน  การประเมินผลการศึกษา การจัดห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ การกำกับดูแลห้องเรียนและจัดการห้องเรียนที่มีความสอดคล้องกับวิถีพุทธและการประกันคุณภาพการศึกษา

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้รู้และเข้าใความสำคัญของหลักสูตร หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรรายวิชาหลักสูตรบูรณาการ

๕.๒ เพื่อให้สามารถอธิบายกระบวนการพัฒนาหลักสูตร แผนการจัดการศึกษา แผนการสอน  การประเมินผลการศึกษา การจัดห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพการกำกับดูแลห้องเรียนและจัดการห้องเรียนที่มีความสอดคล้องกับวิถีพุทธ

๕.๓ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์การประกันคุณภาพการศึกษา

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ ความสำคัญของหลักสูตร

๖.๒ หลักสูตรแกนกลาง

๖.๓ หลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรรายวิชา

๖.๔ หลักสูตรบูรณาการ

๖.๕ กระบวนการพัฒนาหลักสูตร

๖.๖ แผนการจัดการศึกษ

๖.๗ แผนการสอน

๖.๘ การประเมินผลการศึกษา

๖.๙ การจัดห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ

๖.๑๐ การกำกับดูแลห้องเรียน

๖.๑๑ จัดการห้องเรียนที่มีความสอดคล้องกับวิถีพุทธ

๖.๑๒ การประกันคุณภาพการศึกษา

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ อภิปรายกลุ่ม ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม                 ๑๐                คะแนน

๘.๒ งานมอบหมายและรายงาน                       ๒๐                คะแนน

๘.๓ การทดสอบระหว่างภาคเรียน                    ๒๐                คะแนน

๘.๔ สอบปลายภาค                                    ๕๐               คะแนน

รวม                                            ๑๐๐              คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ค้นคืนวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ จาก http://www.culture.go.th/ichthailand/post.html

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานการวิจัยเรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ

บริหารจัดการน ้า : กรณีศึกษาพื นที่ลุ่มน ้าชีกรุงเทพมหานคร กรมทรัพยากรน ้า. ๒๕๕๑

กรมวิชาการ   กระทรวงศึกษาธิการ  คู่มือการพัฒนาหลักสูตรตามความต้องการของ

ท้องถิ่น   กรุงเทพมหานคร   คุรุสภาลาดพร้าว.๒๕๓๖

อัจฉรา   วิจิตรญาณพล  “การสร้างประมวลการสอนรายวิชา  ท ๐๕๑ ภาษากับวัฒนธรรม

โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น   สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนทหาร

อากาศอนุสรณ์  จังหวัดนครสวรรค์”  วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน   สาขาวิชาศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัย

สุโขทัยธรรมาธิราช. ๒๕๔๑

อุดม   เชยกีวงศ์  หลักสูตรท้องถิ่น: ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการเรียนรู้   กรุงเทพมหานคร

สำนักพิมพ์บรรณกิจ  ๑๙๙๑ . ๒๕๔๕

……………………………………………………………………………………………………………………………

เทศกาลและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๑๑                                         จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : เทศกาลและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา

Buddhist Festivals and Traditions

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : …………………………………………………………………….

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษามนุษยกับวัฒนธรรม วัฒนธรรมของโลก วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมภูมิภาคของไทย เทศกาลวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา กุศลพิธี บุญพิธี ปกิณกพิธี ราชพิธี รัฐพิธี

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์ วัฒนธรรมโลก วัฒนธรรมไทย

๕.๒ เพื่อให้เข้าใจคุณค่าและความสำคัญของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมทางพุทธศาสนา

๕.๓ เพื่อให้ปฏิบัติและประยุกต์หลักพิธีกรรมและพิธีการต่างๆ ได้ถูกต้องและเหมาะสม

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ ศึกษามนุษยกับวัฒนธรรม

๖.๒ วัฒนธรรมของโลก

๖.๓ วัฒนธรรมไทย

๖.๔ วัฒนธรรมภาคต่างๆ ของไทย

๖.๕ เทศกาลและวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

๖.๖ กุศลพิธีบุญพิธีปกิณกพิธี

๖.๗ ราชพิธี

๖.๘ รัฐพิธี

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ บรรยายประกอบสื่อ  สไลด์  ภาพ  แผนภูมิ  ตาราง

๗.๒ ฝึกปฏิบัติตามหัวข้อ/เรื่องที่มีการปฏิบัติ ทดสอบ หรือทดลอง

๗.๓ การมอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติม และนำเสนอผลการศึกษา

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม (จิตพิสัย)                         ๑๐ คะแนน

๘.๒ การอภิปราย บรรยาย รายงานทางวิชาการ (พุทธิพิสัย)            ๓๐ คะแนน

๘.๓ การฝึกปฏิบัติ ทดสอบ ประยุกต์ใช้ (ทักษะพิสัย)                    ๒๐ คะแนน

๘.๔ สอบประเมินผล                                                      ๔๐ คะแนน

รวม                                                              ๑๐๐ คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๒.

บุญมีแท่นแก้ว, ผศ. ประเพณีและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : โอเอสพริ้นติ้งเฮาส์, ๒๕๔๗.

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระราชพิธีสิบสองเดือน. พระนคร: คลังวิทยา,๒๕๑๔.

ภารดีมหาขันธ์. พื้นฐานอารยธรรมไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๐.

พระธรรมวโรดม (บุญมาคุณสมฺปนฺโน), ระเบียบปฏิบัติของพระสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐.

สุเมธเมธาวิทยกุล.  สังกัปพิธีกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๑.

……………………………………………………………………………………………………………………………

การสอนแบบโครงการและการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๑๒                               จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา :การสอนแบบโครงการและการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้                        

Project Teaching

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ………….…………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับหลักการการสอนแบบโครงงาน แนวคิดและความหมายของการสอนแบบโครงงาน วัตถุประสงค์ ประเภทการสอน รูปแบบของการสอน จำแนกขั้นตอนของการสอน วิธีดำเนินการการสอน การประเมินผลการสอน และการฝึกปฏิบัติการสอนแบบโครงงาน

 

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้สามารถมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการการสอนแบบโครงงาน

๕.๒ เพื่อให้สามารถอธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและความหมายของการสอนแบบโครงงาน วัตถุประสงค์ ประเภทการสอน รูปแบบของการสอน จำแนกขั้นตอนของการสอน

๕.๓ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์วิธีดำเนินการการสอน การประเมินผลการสอน และการฝึกปฏิบัติการสอนแบบโครงงาน

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ หลักการการสอนแบบโครงงาน

๖.๒ แนวคิดและความหมายของการสอนแบบโครงงาน

          ๖.๓ วัตถุประสงค์ ประเภทการสอน รูปแบบของการสอน

๖.๔ จำแนกขั้นตอนของการสอน

๖.๕ การประเมินผลการสอน

๖.๖ การฝึกปฏิบัติการสอนแบบโครงงาน

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ อภิปรายกลุ่ม ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม                 ๑๐                คะแนน

๘.๒ งานมอบหมายและรายงาน                       ๒๐                คะแนน

๘.๓ การทดสอบระหว่างภาคเรียน                    ๒๐                คะแนน

๘.๔ สอบปลายภาค                                    ๕๐               คะแนน

รวม                                            ๑๐๐              คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

จริยา เหนียนฉาย. (ม.ป.ป.). เทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.

จันทร์ฉาย เตมิยาคาร. การเลือกใช้สื่อทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ๒๕๓๓.

ชาญชัย อินทรประวัติและพวงเพ็ญ อินทรประวัติ . รูปแบบการสอน. พิมพ์ครั้งที่ ๒. สงขลา : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา. ๒๕๔๓.

ชูศรี สนิทประชากร. (ม.ป.ป.). ทักษะพื้นฐานของการสอน . กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏจันทรเกษม

ทองคูณ หงศ์พันธุ์. สอนดีต้องมีหลัก. กรุงเทพฯ : แสงสว่างการพิมพ์. ๒๕๔๒.

ทองสุข รวยสูงเนิน. คู่มือปฏิบัติการสร้างแผนการสอนที่เน้นกระบวนการตามหลักสูตรฉบับปรับปรุง ๒๕๓๓. กรุงเทพฯ : เสมาธรรม. ๒๕๔๓.

ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอน – องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่.๒กรุงเทพฯ:ด่านสุทธาการพิมพ์. ๒๕๔๕.

……………………………………………………………………………………………………………………………

 พุทธปัญญาท้องถิ่น

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๑๓                      จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : พุทธปัญญาท้องถิ่น      

Local Wisdom Buddha

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : .……………………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาพุทธปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ ความสามารถของชาวบ้านที่สั่งสม สืบทอดกันมาอันเป็นศักยภาพหรือความสามารถที่จะแก้ปัญหา ปรับตัวการเรียนรู้ และมีการสืบทอดไปสู่คนรุ่นใหม่ อันเป็นแก่นของชุมชน ให้อยู่รอดจนถึงปัจจุบัน

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้รู้และเข้าใจศึกษาพื้นฐานความเป็นอยู่ของคนไทยในท้องถิ่น

๕.๒ เพื่อให้สามารถอธิบายพุทธปัญญาท้องถิ่นได้

๕.๓ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์กิจกรรม ปัญหาอุปสรรค และแนวโน้มของภูมิปัญญาท้องถิ่นได้

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ ความรู้เกี่ยวกับพุทธปัญญาท้องถิ่น

๖.๒ ลักษณะความเป็นอยู่ของคนไทยในอดีตและปัจจุบัน

๖.๓ สภาพทรัพยากรในท้องถิ่น

๖.๔ พุทธปัญญาท้องถิ่นและการดำเนินชีวิตอย่างเพียงพอ

๖.๕ วิทยากรในท้องถิ่นกับสัมมาอาชีพ

๖.๖ แนวทางการอนุรักษ์ ดิน น้ำ และทรัพยากร

๖.๗ การผสมผสานระหว่างพุทธปัญญาท้องถิ่น และภูมิปัญญาสากล

๖.๘ พระสงค์กับพุทธปัญญาท้องถิ่น

๖.๙ พระสงค์กับงานศิลปกรรมท้องถิ่น

๖.๑๐ พระสงค์กับงานแพทย์แผนไทย

๖.๑๑ พระสงค์กับการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย

๖.๑๒ ปัญหาและแนวโน้มของพุทธปัญญาท้องถิ่น

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ อภิปรายกลุ่ม ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม                 ๑๐                คะแนน

๘.๒ งานมอบหมายและรายงาน                       ๒๐                คะแนน

๘.๓ การทดสอบระหว่างภาคเรียน                    ๒๐                คะแนน

๘.๔ สอบปลายภาค                                    ๕๐               คะแนน

รวม                                            ๑๐๐              คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

กรมทรัพย์สินทางปัญญา ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ค้นคืนวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ จาก http://www.ipthailand.go.th

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม (Intangible CulturalHeritage) ค้นคืนวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ จาก http://ich.culture.go.th/

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ค้นคืนวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ จาก http://www.culture.go.th/ichthailand/post.html

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานการวิจัยเรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ

บริหารจัดการน ้า : กรณีศึกษาพื นที่ลุ่มน ้าชีกรุงเทพมหานคร กรมทรัพยากรน ้า. ๒๕๕๑

กรมวิชาการ   กระทรวงศึกษาธิการ  คู่มือการพัฒนาหลักสูตรตามความต้องการของ

ท้องถิ่น   กรุงเทพมหานคร   คุรุสภาลาดพร้าว.๒๕๓๖

.  คู่มือดำเนินการอบรมการสอนภาษาไทย  ชั้น ป.๕ – ๖    กรุงเทพมหานคร

คุรุสภาลาดพร้าว . ๒๕๓๙

.  คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย   กรุงเทพมหานคร

องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. ๒๕๔๕

อัจฉรา   วิจิตรญาณพล  “การสร้างประมวลการสอนรายวิชา  ท ๐๕๑ ภาษากับวัฒนธรรม

โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น   สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนทหาร อากาศอนุสรณ์  จังหวัดนครสวรรค์”  วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน   สาขาวิชาศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ๒๕๔๑

อุดม   เชยกีวงศ์  หลักสูตรท้องถิ่น: ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการเรียนรู้   กรุงเทพมหานคร

สำนักพิมพ์บรรณกิจ  ๑๙๙๑ . ๒๕๔๕

วิศนี   ศิลตระกูล  “ภูมิปัญญาชาวบ้าน  เทคโนโลยีพื้นบ้านและแหล่งวิทยาการท้องถิ่น”

ใน  เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนา และการใช้แหล่งวิทยาการในชุมชน

หน่วยที่ ๖   หน้า  ๒๐๑ – ๒๔๙ นนทบุรี  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. ๒๕๓๓

รัตนะ  บัวสนธ์  “ภูมิปัญญาและศักยภาพท้องถิ่นกับโรงเรียนประถมศึกษา”  ใน ประมวล

สาระชุดวิชาสัมมนาการประถมศึกษา   หน่วยที่ ๓   หน้า ๑๖๙ – ๒๒๘  นนทบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช   สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. ๒๕๓๗

 ……………………………………………………………………………………………………………………………

 พุทธศิลป์

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๑๔                               จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : พุทธศิลป์                           

Buddhist Arts

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : .………………………………………………………………….

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาพัฒนาการของพุทธศิลป์ในอินเดีย คลื่นพระพุทธศาสนาที่เข้ามาสู่ประเทศไทย ซึ่งสัมพันธ์กับสกุลศิลปะสมัยต่างๆ จนเกิดเป็นสกุลศิลปะในประเทศไทย ทั้งด้านปฏิมากรรม จิตรกรรม และสถาปัตยกรรม อิทธิพลของพุทธศิลป์ในสังคมไทยและแนวทางในการอนุรักษ์พุทธศิลป์ ปรัชญาธรรมทางวัตถุ และความงามจากพุทธศิลป์ในสมัยต่างๆ ในประเทศไทยโดยอาศัยพุทธลักษณะ

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ พัฒนาการของพุทธศิลป์ในอินเดียและคลื่นพระพุทธศาสนาที่เข้ามาสู่ประเทศไทย

๕.๒ เพื่อให้สามารถอธิบาย แบบอย่างลักษณะพุทธศิลป์และอิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่อแนวความคิดของศิลปินที่มีชื่อเสี่ยงในยุคสมัยต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง

๕.๓ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ปรัชญาธรรมที่แสดงออกในศิลปะวัตถุ เช่น ประติมากรรม จิตรกรรม และสถาปัตยกรรม ได้อย่างเหมาะสม

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศิลปะ

๖.๒ ประวัติพุทธศาสนาและการสร้างพุทธศิลป์ในอินเดีย

๖.๓ ประวัติศิลปะสกุลช่าง

๖.๔ ประวัติพุทธศาสนาและการสร้างพุทธศิลป์ในสุวรรณภูมิ

๖.๕ พุทธศิลป์สมัยอยุธยา

๖.๖ พุทธศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์

๖.๗ ศิลปะสำคัญที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการรูปแบบพุทธศิลป์

๖.๘ อิทธิพลของพุทธศิลป์ในสังคมไทย

๖.๙ การอนุรักษ์พุทธศิลป์

๖.๑๐ ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลป์

 ๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ อภิปรายกลุ่ม ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม                 ๑๐                คะแนน

๘.๒ งานมอบหมายและรายงาน                       ๒๐                คะแนน

๘.๓ การทดสอบระหว่างภาคเรียน                    ๒๐                คะแนน

๘.๔ สอบปลายภาค                                    ๕๐               คะแนน

รวม                                            ๑๐๐              คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

จิต   บัวบุศย์. สกุลศิลปะพุทธรูปในประเทศไทย มรดกวัฒนธรรมไทย. พิมพ์ในอนุสรณ์ฌาปนกิจศพ นางสาวพรรณี  สุทธิสารรณกร วัดโสมนัสวิหาร, ๒๕๐๗.

จิรพันธุ์  สมประสงค์. ศิลปะประจำชาติ ปป.๒๓๑. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๒.

เฉลิมชัย  โฆษิตพิพัฒน์. พุทธศิลป์ : Buddhistic Paintings. กรุงเทพฯ : ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๓๕

น. ณ ปากน้ำ. ความเข้าใจในศิลปะ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, ๒๕๓๑.

นวลลออ  ทินานนท์. ศิลปะพื้นบ้านไทย กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์หนังสือประกอบ   การสอน คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๔๓.

พระเทพเวที (ประยุทธ์  ปยุตฺโต). ศิลปศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาฯ,   ๒๕๔๓.

วิรุฬ   ตั้งเจริญ.ศิลปะพินิจ. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อ แกรมมี่, ๒๕๔๐.

สงวน  รอดบุญ. พุทธศิลป์ รัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา, ๒๕๒๖.

ฉลอง สุนทรนนท์. “ทัศนศิลป์….สุโขทัย,” ครุศิลป์. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทรงวิทย์ แก้วศรี. “พระพุทธรูปสำคัญ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม,” ศิลปากร. ๔๓, ๒ (มีนาคม- เมษายน ๒๕๔๓.

พิริยะ ไกรฤกษ์. “ศิลปแห่งแดนเนรมิต (ศิลปะสุโขทัย ระหว่าง พ.ศ. ๑๗๕๐-๑๙๐๐),” เมืองโบราณ. ๑๒, ๑ (มกราคม-มีนาคม ๒๕๒๙.

……………………………………………………………………………………………………………………………

พื้นฐานภาษาบาลี

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๑๕                      จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : พื้นฐานภาษาบาลี        

Pali Language Basics

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย :……………………………………………………………………..

๔. คำอธิบายรายวิชา

ความเป็นมาและความสำคัญของภาษาบาลี ภาษาบาลีกับภาษาไทย อักขรวิธี  วจีวิพากย์  วากยสัมพันธ์และหลักการแต่ง หลักการแปล ฉันทลักษณ์ การประยุกต์ภาษาบาลีกับวิถีชีวิตและสังคม

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้รู้และเข้าใจความเป็นมาและความสำคัญของภาษาบาลีและการจารึกพระธรรมคำสอน

๕.๒ เพื่อให้อ่าน เขียน แปล แต่ง ภาษาบาลีขั้นพื้นฐานได้

๕.๓ เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้กับภาษาไทย สังคม และชีวิตประจำวันได้

๖. ขอบข่ายเนื้อหา

๖.๑ ความเป็นมาและความสำคัญของภาษาบาลี

๖.๒ ภาษาบาลีกับภาษาไทย

๖.๓ การประยุกต์ภาษาบาลีกับวิถีชีวิตและสังคม

๖.๔ อักขรวิธี

๖.๕ วจีวิพากย์

๖.๖ วากยสัมพันธ์และหลักการแต่ง

๖.๗ หลักการแปล

๖.๘ ฉันทลักษณ์

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ บรรยายประกอบสื่อ  สไลด์  ภาพ  แผนภูมิ  ตาราง

๗.๒ ฝึกปฏิบัติตามหัวข้อ/เรื่องที่มีการปฏิบัติ ทดสอบ หรือทดลอง

๗.๓ การมอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติม และนำเสนอผลการศึกษา

  ๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม (จิตพิสัย)                  ๑๐    คะแนน

๘.๒ การอภิปราย บรรยาย รายงานทางวิชาการ (พุทธิพิสัย)     ๓๐    คะแนน

๘.๓ การฝึกปฏิบัติ ทดสอบ ประยุกต์ใช้ (ทักษะพิสัย)             ๒๐    คะแนน

๘.๔ สอบประเมินผล                                               ๔๐    คะแนน

รวม                                                       ๑๐๐  คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, วรรณคดีบาลี. กรุงเทพฯ : ไทยรายวันการพิมพ์, ๒๕๕๒.

เสนาะผดุงฉัตร. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณคดีบาลี. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๒.

คณะกรรมการแต่งตำรามหามกุฏราชวิทยาลัย, วิธีแปลมคธเป็นไทยวิธีแต่งฉันท์, กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.

จรูญวรรณกสิณานนท์. บาลียุคใหม่เรียนง่ายกว่าเดิม. กรุงเทพฯ : พุทธลีลา, ๒๕๔๙.

จำลองสารพัดนึก. แบบเรียนเร็วมหาบาลีเล่ม 1, กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดีสุรเตโช), หลักการแปลไทยเป็นมคธสำหรับชั้นประโยคป.ธ.๔-๕. กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง, ๒๕๔๑.

เวทย์วรัญญู, แบบเรียนบาลีไวยากรณ์สมบูรณ์เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : ไทยรายวันการพิมพ์, ๒๕๔๙.

สำนักงานแม่กองบาลี. เรื่องสอบบาลี, กรุงเทพฯ : อาทรการพิมพ์, ๒๕๔๙.

……………………………………………………………………………………………………………………………

ภาษาไทย

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๑๖                      จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : ภาษาไทย       

Thai

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ………………………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาลักษณะภาษาไทย  หน่วยเสียงในภาษาไทย  อักษรไทยและการเขียนตัวอักษร  ไตรยางค์ คำเป็นคำตาย การเขียนตัวอักษรและการประสมอักษร  ชนิดของคำ  การสร้างคำการใช้คำและประโยค  การสังเกตลักษณะคำไทยแท้กับคำที่มาจากภาษาอื่น  ราชาศัพท์  หลักการอ่านในภาษาไทย  หลักการเขียนคำในภาษาไทย

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะภาษาไทย

๕.๒ เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถอธิบายลักษณะภาษาไทย

๕.๓ เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ ลักษณะภาษาไทย

๖.๒ หน่วยเสียงในภาษาไทย

๖.๓ อักษรไทยและการเขียนตัวอักษร

๖.๔ ไตรยางค์

๖.๕ คำเป็นคำตาย

๖.๖ การเขียนตัวอักษรและการประสมอักษร

๖.๗ ชนิดของคำ

๖.๘ การสร้างคำการใช้คำและประโยค

๖.๙ การสังเกตลักษณะคำไทยแท้กับคำที่มาจากภาษาอื่น

๖.๑๐ ราชาศัพท์

๖.๑๑ หลักการอ่านในภาษาไทย

๖.๑๒ หลักการเขียนคำในภาษาไทย

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ อภิปรายกลุ่ม ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม                 ๑๐                คะแนน

๘.๒ งานมอบหมายและรายงาน                       ๒๐                คะแนน

๘.๓ การทดสอบระหว่างภาคเรียน                    ๒๐                คะแนน

๘.๔ สอบปลายภาค                                    ๕๐               คะแนน

รวม                                            ๑๐๐              คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

.  กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๔๒). แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านการเขียนภาษาไทย

ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร :กระทรวงศึกษาธิการ.

.  คู่มือดำเนินการอบรมการสอนภาษาไทย  ชั้น ป.๕ – ๖    กรุงเทพมหานคร

คุรุสภาลาดพร้าว . ๒๕๓๙

.  คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย   กรุงเทพมหานคร  องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. ๒๕๔๕

.  กระทรวงศึกษาธิการ.กรมวิชาการ. (๒๕๔๖).การจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย. กรุงเทพ : กระทรวงศึกษาธิการ.

ขวัญเรือน วุฒิกมลชัย.แบบฝึกการเขียนสะกดคำพื้นฐานในบทเรียนภาษาไทย .วิทยานิพนธ์การศึกษา

มหาบัณฑิต สาขาประถมศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสำราญ.(๒๕๔๗). การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

มะลิ อาจวิชัย. (๒๕๔๐). การพัฒนาแบบฝึกทักษะภาษาไทยเรื่องการเขียนสะกดคำไม่ตรงตามมาตร

ตัวสะกด แม่กน แม่กด และแม่กบ.วิทยานิพนธ์ กศ.ม.มหาสารคาม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม.

เว็บไซต์  www.thaigoodview.com/node/17250

……………………………………………………………………………………………………………………………

คณิตศาสตร์พื้นฐาน

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๑๗                      จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : คณิตศาสตร์พื้นฐาน      

Basic Math

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ……………………………………………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะการแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยม  การบวก  การลบ  การคูณ  การหารเศษส่วน  และโจทย์ปัญหา  การหาความยาว  การหาพื้นที่  การหาปริมาตร  ทิศ  แผนผัง  แผนที่  รูปเรขาคณิตและสมบัติบางประการของรูปเรขาคณิต  สมการและการแก้สมการ  สถิติและความน่าจะเป็นเบื้องต้น

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

๕.๒ เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถอธิบายเกี่ยวกับจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยม  การบวก  การลบ  การคูณ  การหารเศษส่วน  และโจทย์ปัญหา  การหาความยาว  การหาพื้นที่  การหาปริมาตร  ทิศ  แผนผัง  แผนที่  รูปเรขาคณิตและสมบัติบางประการของรูปเรขาคณิต  สมการและการแก้สมการ  สถิติและความน่าจะเป็นเบื้องต้น

๕.๓ เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ ทักษะการคิดคำนวณ

๖.๒ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวนนับ

๖.๓ เศษส่วน ทศนิยม  การบวก  การลบ  การคูณ  การหารเศษส่วน  และโจทย์ปัญหา

๖.๔ การหาความยาว  การหาพื้นที่  การหาปริมาตร  ทิศ  แผนผัง  แผนที่  รูปเรขาคณิตและสมบัติบางประการของรูปเรขาคณิต

๖.๕ สมการและการแก้สมการ  สถิติและความน่าจะเป็นเบื้องต้น

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ ฝึกปฏิบัติตามหัวข้อ/เรื่องที่มีการปฏิบัติ ทดสอบ หรือทดลอง

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม                 ๑๐                คะแนน

๘.๒ งานมอบหมายและรายงาน                       ๒๐                คะแนน

๘.๓ การทดสอบระหว่างภาคเรียน                    ๒๐                คะแนน

๘.๔ สอบปลายภาค                                    ๕๐               คะแนน

รวม                                            ๑๐๐              คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การรับส่งสินค้าและพัสดุภันฑ์ (ร.ส.พ.), ๒๕๔๕.

กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการ. กองวิจัยทางการศึกษา. รายงานสรุปผลการวิจัย  เรื่อง สภาพการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๔.

กิดานันท์ มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๒ กรุงเทพมหานคร:  อรุณการพิมพ์. ๒๕๔๓.

. เทคโนโลยีทางการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด อรุการพิมพ์, ๒๕๔๓.

ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล. ชุดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาการจัดค่ายคณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร :

โรงพิมพ์เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเน้นท์, ๒๕๔๒.

ถนอมพร เลาหจรัสแสง. ก หลักการออกแบบและการสร้าคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๑.

บุญทัน อยู่ชุมบุญ. พฤติกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา. เชียงราย : ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ วิทยาลัครูเชียงราย, ๒๕๓๕.

บุญเพ็ญ บุบผามาตะนัง. “การพัฒนาการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์,” วารสารวิชาการ.๒,๒.๒๕๔๒.

 ……………………………………………………………………………………………………………………………

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

 ๒. รหัสวิชา : สศ ๐๑๘                      จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๑. ชื่อรายวิชา : ภาษาอังกฤษพื้นฐาน     

 Basics English

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : …………………………………………………………………….

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาภาษาเพื่อการสื่อสาร ภาษาและวัฒนธรรม ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ภาษาและวัฒนธรรม ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก

๕.๒ เพื่อให้ผู้ศึกษาอ่าน เขียน แปล  ภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐานได้

๕.๓ เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถประยุกต์ใช้กับภาษาไทย สังคม และชีวิตประจำวันได้

๖. ขอบข่ายเนื้อหา

๖.๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร

๖.๒ ภาษาและวัฒนธรรม

๖.๓ การประยุกต์ภาษาอังกฤษกับวิถีชีวิตและสังคม

๖.๔ หลักการฟัง

๖.๕ หลักการพูด

๖.๖ หลักการอ่าน

๖.๗ หลักการเขียน

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ บรรยายประกอบสื่อ  สไลด์  ภาพ  แผนภูมิ  ตาราง

๗.๒ ฝึกปฏิบัติตามหัวข้อ/เรื่องที่มีการปฏิบัติ ทดสอบ หรือทดลอง

๗.๓ การมอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติม และนำเสนอผลการศึกษา

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม (จิตพิสัย)                  ๑๐    คะแนน

๘.๒ การอภิปราย บรรยาย รายงานทางวิชาการ (พุทธิพิสัย)     ๓๐    คะแนน

๘.๓ การฝึกปฏิบัติ ทดสอบ ประยุกต์ใช้ (ทักษะพิสัย)             ๒๐    คะแนน

๘.๔ สอบประเมินผล                                               ๔๐    คะแนน

รวม                                                         ๑๐๐  คะแนน

 ๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

กรมวิชาการ.(๒๕๔๑).คู่มือการจัดการเรียนสอนภาษาอังกฤษระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายเล่ม ๑. กรุงเทพฯ:คุรุสภาลาดพร้าว

กรมวิชาการ.(๒๕๔๕).คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ.กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

กรรณิกา เครือทนุ.(๒๕๔๑).ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นความรู้เดิมเกี่ยวกับเนื้อหา และความสามารถในการฟังภาษาอังกฤษของนักศึกษา, จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย , กรุงเทพฯ.

กัลยา มีหมู่.(๒๕๔๗). การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้วิธีการสอนที่เน้นเนื้อหาวิชาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕.

วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม , มหาสารคาม

จาตุรงค์ ธนะสีลังกูร.(๒๕๔๙). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้วยการสอนแบบผสมผสานสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ ๒ (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ถวัลย์ มาศจรัส.(๒๕๓๕).การเขียนหนังสือส่งเสริมการอ่าน และหนังสืออ่านเพิ่มเติม.กรุงเทพฯ:บริษัท ต้นอ้อ จำกัด.

นวลจันทร์ สุวรรณศรี.(๒๕๔๗)การจัดกิจกรรมเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ โดยวิธีสอนแบบเน้นเนื้อหา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ . มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พารณี นนทวาสี.(๒๕๔๔).การพัฒนาบทเรียนภาษาอังกฤษตามแนวการสอนแบบใช้เนื้อหานำไปสู้การเรียนรู้

ภาษา สำหรับนักเรียนแผนการเรียนคณิต-วิทย์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย.วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,เชียงใหม่

เว็บไซต์

www://sites.google.com/site/jatupornmabangcru/conversation-dialogue

www.slideshare.net/UtaiSukviwatsirikul/docu8000037065

www.trueplookpanya.com/new/download/knowledge/037065/

www.englishspeak.com/th/english-lessons.cfm

……………………………………………………………………………………………………………………………

พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๑๙                                         จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน   

Buddhism and Current Affairs

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : …………………………………………………………………….

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของพระพุทธศาสนาในทวีปเอเชียยุโรปอเมริกาออสเตรเลีย และแอฟริกา ผลกระทบของลัทธิการเมืองและศาสนาอื่นๆที่มีต่อพระพุทธศาสนาอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมโลกและบทบาทขององค์กรพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์พระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน

๕.๒ เพื่อให้เข้าใจผลกระทบของลัทธิการเมืองและศาสนาอืนๆ ที่มีต่อพุทธศาสนา

๕.๓ เพื่อให้เข้าใจอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมและนานาชาติ

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

๖.๑ กำเนิดและพัฒนาการของพระพุทธศาสนา

๖.๒ ความแตกต่างของพระพุทธศาสนากับศาสนาหรือลัทธิอื่น

          ๖.๓ การความเจริญรุ่งเรืองและความเสื่อมของพระพุทธศาสนาจากชมพูทวีป

๖.๔ สถานการณ์ปัจจุบันของพระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย

๖.๕สถานการณ์ปัจจุบันของพระพุทธศาสนาในทวีปยุโรปและอเมริกา

๖.๖สถานการณ์ปัจจุบันของพระพุทธศาสนาในทวีปออสเตรเลีย และแอฟริกา

          ๖.๗สถานการณ์ปัจจุบันของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

๖.๘ผลกระทบของลัทธิการเมืองและศาสนาอื่นๆที่มีต่อพระพุทธศาสนา

๖.๙บทบาทของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมโลก

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ บรรยายประกอบสื่อ  สไลด์  ภาพ  แผนภูมิ  ตาราง

๗.๒ ฝึกปฏิบัติตามหัวข้อ/เรื่องที่มีการปฏิบัติ ทดสอบ หรือทดลอง

๗.๓ การมอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติม และนำเสนอผลการศึกษา

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม (จิตพิสัย)                  ๑๐    คะแนน

๘.๒ การอภิปราย บรรยาย รายงานทางวิชาการ (พุทธิพิสัย)     ๓๐    คะแนน

๘.๓ การฝึกปฏิบัติ ทดสอบ ประยุกต์ใช้ (ทักษะพิสัย)             ๒๐    คะแนน

๘.๔ สอบประเมินผล                                               ๔๐    คะแนน

รวม                                                       ๑๐๐  คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบแหล่งเรียนรู้

พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). โลกทัศน์ชาวพุทธ. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). สถานการณ์พุทธศาสนา: พลิกหายนะเป็นพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่๑๑. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม, ๒๕๕๖.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). ภัยแห่งพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม, ๒๕๔๕.

อดิศรถิรสีโล.พระพุทธศาสนาในอินเดียและต่างประเทศ.กรุงเทพฯ: จงเจริญการพิมพ์, ๒๕๕๒.

อดิศักดิ์ ทองบญุ. ปรัชญาอินเดีย.กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖.

สุชาติ หงษา. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: ศยาม, ๒๕๕๐.

ประยรูป้อมสุวรรณ์.เอกสารประกอบการสอนรายวิชาพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, ๒๕๕๔.

……………………………………………………………………………………………………………………………

 สัมมนาการสอนศีลธรรมในโรงเรียน 

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๒๐                               จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : สัมมนาการสอนศีลธรรมในโรงเรียน                          

 Seminar on School Morality Teaching

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย : ………………………………………………………………………

๔. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับการสัมนนาในเรื่องเกี่ยวกับวิธีการ หลักการ ปัญหาและอุปสรรคการสอนศีลธรรมในโรงเรียนตามหัวข้อที่กำหนด

 

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้สามารถมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ หลักการ ปัญหาและอุปสรรคการสอนศีลธรรมในโรงเรียน

๕.๒ เพื่อให้สามารถอธิบายเกี่ยวกับการสัมนนาในเรื่องเกี่ยวกับวิธีการ หลักการ ปัญหาและอุปสรรคการสอนศีลธรรมในโรงเรียน

๕.๓ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์หลักการสัมนนาการสอนศีลธรรมในโรงเรียนตามหัวข้อที่กำหนด

๖. ขอบข่ายเนื้อหาวิชา

การสัมมนาวิธีการ หลักการ ปัญหาและอุปสรรคการสอนศีลธรรมในโรงเรียนตามหัวข้อที่กำหนด

 

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ การบรรยายตามรายละเอียดของวิชาในชั้นเรียน

๗.๒ มอบหมายให้นิสิตแบ่งกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แล้วสรุปเป็นรายงานเสนอ

๗.๓ อภิปรายกลุ่ม ซักถาม และเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน

๗.๔ จัดให้มีการวัดและประเมินผลตามที่กำหนด

๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม                 ๑๐                คะแนน

๘.๒ งานมอบหมายและรายงาน                       ๒๐                คะแนน

๘.๓ การทดสอบระหว่างภาคเรียน                    ๒๐                คะแนน

๘.๔ สอบปลายภาค                                    ๕๐               คะแนน

รวม                                            ๑๐๐              คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

กิดานันท์ มลิทอง. สื่อการสอนและฝึกอบรม. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. ๒๕๔๔.

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน. หลากหลายวิธีการสอนของครูต้นแบบ ๒๕๔๑ วิชาคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี. ๒๕๔๒.

จริยา เหนียนฉาย. (ม.ป.ป.). เทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.

จันทร์ฉาย เตมิยาคาร. การเลือกใช้สื่อทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ๒๕๓๓.

ชาญชัย อินทรประวัติและพวงเพ็ญ อินทรประวัติ . รูปแบบการสอน. พิมพ์ครั้งที่ ๒. สงขลา : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา. ๒๕๔๓.

ชูศรี สนิทประชากร. (ม.ป.ป.). ทักษะพื้นฐานของการสอน . กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏจันทรเกษม

ทองคูณ หงศ์พันธุ์. สอนดีต้องมีหลัก. กรุงเทพฯ : แสงสว่างการพิมพ์. ๒๕๔๒.

ทองสุข รวยสูงเนิน. คู่มือปฏิบัติการสร้างแผนการสอนที่เน้นกระบวนการตามหลักสูตรฉบับปรับปรุง ๒๕๓๓. กรุงเทพฯ : เสมาธรรม. ๒๕๔๓.

ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอน – องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่.๒กรุงเทพฯ:ด่านสุทธาการพิมพ์. ๒๕๔๕.

……………………………………………………………………………………………………………………………

 

การศึกษาอิสระ

 ๑. รหัสวิชา : สศ ๐๒๑                      จำนวนหน่วยกิต : ๒ (๒-๐-๔)

๒. ชื่อรายวิชา : การศึกษาอิสระ           

Independent Studies

๓. อาจารย์ประจำวิชา / ผู้บรรยาย :……………………………………………………………………..

๔. คำอธิบายรายวิชา

เลือกปฏิบัติงานในการสอนศีลธรรมในโรงเรียนตามความสนใจและเขียนเป็นรายงานการศึกษาหรือภาคนิพนธ์ในการควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษา

๕. จุดประสงค์การเรียน

๕.๑ เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการศึกษาและวิธีการแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบ

๕.๒ เพื่อให้ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ และประเมินค่าเรื่องที่ตนสนใจใคร่รู้อย่างอิสระ

๕.๓ประมวลความรู้ ประสบการณ์ และนำเสนอเรื่องที่ตนสนใจใคร่รู้อย่างอิสระ

๖. ขอบข่ายเนื้อหา

ผู้ศึกษาสามารถเลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่งต่อไปนี้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ การค้นคว้าจากเอกสาร การวิจัย การทดลอง การประเมินโครงการ การศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์ การศึกษาจากกรณีตัวอย่าง เป็นต้น  โดยการจัดทำเอกสารรายงานการศึกษาอิสระ ให้ครอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี้

  • บทคัดย่อ
  • คำสำคัญ
  • บทนำ
  • แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • วิธีดำเนินการศึกษา
  • ผลการศึกษา
  • สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
  • บรรณานุกรม
  • เอกสารผนวก
  • ประวัติผู้ศึกษา

๗. กิจกรรมการเรียนการสอน

๗.๑ บรรยายประกอบสื่อ  สไลด์  ภาพ  แผนภูมิ  ตาราง

๗.๒ ฝึกปฏิบัติตามหัวข้อ/เรื่องที่มีการปฏิบัติ ทดสอบ หรือทดลอง

๗.๓ การมอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติม และนำเสนอผลการศึกษา

 ๘. การประเมินผล

๘.๑ การฟังบรรยายและร่วมกิจกรรม (จิตพิสัย)                  ๑๐    คะแนน

๘.๒ การอภิปราย บรรยาย รายงานทางวิชาการ (พุทธิพิสัย)     ๓๐    คะแนน

๘.๓ การฝึกปฏิบัติ ทดสอบ ประยุกต์ใช้ (ทักษะพิสัย)             ๒๐    คะแนน

๘.๔ สอบประเมินผล                                               ๔๐    คะแนน

รวม                                                       ๑๐๐  คะแนน

๙. หนังสืออ่านประกอบและแหล่งเรียนรู้

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. คู่มือการทำวิทยานิพนธ์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖.

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต. คู่มือการศึกษาค้นคว้าอิสระ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต, ๒๕๕๑.

ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Theses) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่http://library.cmu.ac.th/digital_collection/etheses/

บทความวิชาการ มจร. http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent.php

……………………………………………………………………………………………………………………………